s 8 สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับโรค ebola | REVIEW รีวิว เรื่องราวต่างๆ ที่น่าสนใจสำหรับชาวไทย บทความน่าอ่าน สุขภาพ ไอที เรื่องราวน่าสนใจ

8 สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับโรค ebola

8 สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับโรค ebola 9 ebola 8 สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับโรค ebola


credit: รูปภาพ




หลายร้อยชีวิตแล้วที่ต้องเสียชีวิตไปกับโรคนี้ โดยส่วนใหญ่ระบาดที่ทวีปแอฟริกาตะวันตก เราจะมาดู 9 สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับสิ่งที่ องค์การอนามัยโลก เรียกว่า “หนึ่งในโรคที่รุนแรงมากที่สุดในโลก” 

1. ทำไมอีโบลา ถึงสร้างความน่ากลัว ได้มากขนาดนี้

Medecins Sans Frontieres (MSF)หรือ องค์การแพทย์ไร้พรมแดน อธิบายว่าอีโบลาเป็น “หนึ่งในโรคที่อันตรายที่สุดของโลก” มันเป็นไวรัสที่สามารถติดเชิ้อโดยสารคัดหลั่ง คนที่ชุมชนที่ติดเชื้อมีเปอร์เซ็นถึง90%ที่เสียชีวิต นอกจากนี้ยังไม่มีวัคซีนป้องกัน


2. อีโบลา คืออะไร? 
อีโบลา คือ กลุ่มของไวรัสที่ส่งผลกระทบต่อระบบอวัยวะหลายในร่างกายและมักจะมาพร้อมเลือดออก ไวรัสถูกตั้งชื่อตามแม่น้ำอีโบลาในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ซึ่งเป็นหนึ่งในการระบาดครั้งแรกที่เกิดขึ้นในปี 1976 ปีเดียวกับที่มีการระบาดอื่นในประเทศซูดานองค์การอนามัยโลกกล่าวว่ามีห้าสายพันธุ์ที่แตกต่างกันของไวรัส – การตั้งชื่อตามพื้นที่ที่พวกเขาเกิดขึ้นในสามของเหล่านี้ได้รับการเชื่อมโยงกับการระบาดใหญ่ของโรคไข้เลือดออกในแอฟริกา.Ebola กับ Marburg เป็นชื่อไวรัสในตระกูลเดียวกันครับ เรามักจะได้ยินคู่กันมาตลอด ตระกูลนี้ชื่อ Filoviridae

เป็น 1 ใน 5 ตระกูลของไวรัสที่ทำให้เกิด ‘โรคไข้เลือดออก’

ตัวที่เป็นข่าวตอนนี้ไม่ใช่ Marburg แต่เป็น Ebola virus

ซึ่งมีชนิดย่อย 4 ชนิดที่ก่อโรคในคน

ได้แก่ Zaire, Sudan, Tai Forest และ Bundibugyo ebolavirus

Ebola ทำให้แพทย์ค่อนประเทศเริ่มจตระหนักได้ว่า

ไข้เลือดออก ไม่ได้มีแต่ Dengue

เพียงแต่ Dengue มันฮิตในบ้านเราแค่นั้นเอง

Dengue virus กับ ไวรัสไข้เหลือง (ที่เค้าต้องฉีดวัคซีนกันก่อนไปดูบอลโลกที่บราซิลนั่นแหละ)

สองตัวนี้มันอยู่ในตระกูลเดียวกันคือ Flaviviridae

ซึ่งก็ทำให้เกิดโรคไข้เลือดออกได้เหมือนกัน


3.อาการของอีโบลาคืออะไร?

แรกๆเหมือนไข้หวัดใหญ่ ไข้สูง เจ็บคอ ปวดหัว ปวดกล้ามเนื้อ คลื่นไส้ อาเจียน อาการเหล่านี้จะแสดง 2 วัน ถึง 21 วันหลังติดเชื้อ

ต่อมาจะมีอาการสองอย่างที่แตกต่างจาก ไข้หวัดใหญ่

1. ซึม สับสน ชัก

2. ผื่น, ตาสีแดง, สะอึก, อาการเจ็บหน้าอกและหายใจลำบากและการกลืน

อาการเริ่มแรกคืบหน้าไปอาเจียนท้องเสียไตบกพร่องและการทำงานของตับและมีเลือดออกบางครั้งทั้งภายในและภายนอก

สุดท้ายจะตายจากการที่ อวัยวะสำคัญทำงานล้มเหลว


4.มันรักษาได้อย่างไร

ยังไม่มียารักษา

ทำได้ดีที่สุด คือประคับประคองอาการในรพ. ให้น้ำเกลือ

ให้เลือดชดเชยถ้ามีการเสียเลือด


5.ถ้าติดแล้วเราจะมีอาการเมื่อไหร่?

ไม่แน่นอนครับ เป็นได้ตั้งแต่ 2-21 วัน

ดังนั้น เราอาจจะมีผู้โดยสารเข้าประเทศของเรามา

โดยยังไม่ปรากฎอาการได้เช่นกัน


6.ติดต่อทางไหนได้บ้าง?

ไวรัสอีโบลากระจายผ่านการสัมผัสโดยตรงกับสารคัดหลั่งหรือของเหลวในร่างกายอื่น ๆ ของคนผู้ป่วยและการติดต่อทางอ้อม ตัวอย่างเช่น การใช้เข็มและสิ่งอื่น ๆ ร่วมกันที่อาจจะปนเปื้อนด้วยของเหลวเหล่านี้ ทางการหายใจยังไม่มีรายงาน


7.มันจะมาไทยมั๊ย?

ทางสนามบินและเจ้าหน้าที่สายการบิน

ทุกคนต้องทำหน้าที่อย่างเคร่งครัด ในการ spot คนที่สงสัยว่าเป็นโรค

เข้าในเขตกักกัน ก่อนให้เข้าประเทศ

เขตกักกันและอุปกรณ์ป้องกันได้มาตรฐาน

มีทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญดูแลอย่างใกล้ชิด ตลอด 24 ชม.

เป็นกำลังใจให้พี่ๆน้าๆทีมงานด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ

ของสนามบินสุวรรณภูมิ เหมือนผู้พิทักษ์ด่านหน้าให้พวกเรานะครับ


8.พวกเราพอจะช่วยอะไรกันได้บ้างเพื่อป้องกัน Ebola เข้ามาเมืองไทย?

ถึงแม้บ้านเราจะไม่ได้รวย

แต่ถ้าเราช่วยกัน อย่างน้อยก็กันมันได้ในระดับนึง

หรือหากเกิดขึ้นก็สามารถควบคุมมันให้แพร่กระจายไปน้อยที่สุด

พวกเราพอจะช่วยอะไรกันได้บ้าง

- อย่างแรกต้องเข้าใจธรรมชาติและการดำเนินโรคขั้นพื้นฐานก่อนครับ

- เมื่อเข้าใจแล้วจะทำให้เราไม่ตื่นตระหนก และ มีสติรับมือกับมันมากขึ้น

- เมื่ออ่านข่าวไม่ว่าจากที่ใด เกี่ยวกัยการระบาดของ Ebola เราสามารถตรวจสอบ

ด้วยตัวเองได้จากเว๊บไซท์ ของ WHO ว่าจริงหรือลวง
http://www.who.int/csr/don/archive/disease/ebola/en/

- หากพวกเราพบเห็นคนต่างชาติมีอาการที่สงสัย

ในต่างจังหวัด แจ้ง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ในกทม แจ้ง ศูนย์บริการสาธารณสุข หรือ งานระบาด กทม หรือ สำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข

- รพ.ที่รับคนไข้ต่างชาติเป็นหลัก ควรมีหน่วยคัดกรอง ก่อนรับเข้ามาทำการรักษา หรือ แจ้งหน่วยงานข้างต้น

credit: pantip.com , cnn.com ,who.int



บทความจาก8 สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับโรค ebola
Share on Google Plus

ถ้าเห็นว่าบทความเจ๋ง ช่วยแชร์ด้วยนะครับ ^ ^

    Facebook Comment
    Blogger Comment

0 ความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น